เวทาสากุ กุสาทาเว ทายะสาตะ ตะสายะทา สาสาทิกุ กุทิสาสา กุตะกุภู ภูกุตะกุ
ADE หรือ Antibody Dependence Enhancement แปลว่า “อาการที่รุนแรงขึ้นจากแอนตี้บอดี้”
ใช่ครับ อาการป่วยที่รุนแรงขึ้น จากการที่มีแอนตี้บอดี้ antibody!!
เรามักจะได้ยิน
หมอๆ พูดถึงข้อดีของการมี แอนตี้บอดี้ การมีระดับแอนตี้บอดี้ (หรือภูมิคุ้มกัน)
แต่สิ่งที่หมอๆ พูดไม่หมด มีสองประการหลักๆครับ
ประการแรก ภูมิคุ้มกันมนุษย์ ไม่ได้มีแค่ แอนตี้บอดี้
หรือ แอนตี้บอดี้ ไม่ได้เป็นเพียงภูมิคุ้มกันชนิดเดียวที่เรามี
ประการสอง แอนตี้บอดี้ มีทั้งแบบที่ดี และ ไม่ดี ใช่ครับแอนตี้บอดี้
แบบไม่ดี ก็มี อย่างที่พบในโรคแพ้ภูมิตนเองไงครับ
ว่ากันที่ข้อแรกก่อน ภูมิคุ้มกันของเรามีสองระบบ คือ
ระบบแรก แบบหลักหรือ แบบพื้นฐาน แบบนี้เรามีติดตัวกันมาตั้งแต่เกิด
และภูมิแบบนี้เองที่ ทำให้คนส่วนใหญ่ที่ติดโควิด ไม่มีอาการหรือ มีอาการน้อยมากแล้วก็หาย
ภูมิแบบนี้เราพัฒนาให้แข็งแรงได้โดยไม่ต้องใช้วัคซีน แค่ทำตามหลัก ๕ อ ก็พอล่ะครับ
อ.อะไรบ้างหาอ่านกันเองไม่ยากครับ ส่วนภูมิแบบมาทีหลัง หรือ
ระบบเสริมนั้นเกิดภายหลังการติดเชื้อ หรือได้รับวัคซีน อย่างไรก็ดี ภูมิแบบหลังนี้ที่เกิดตามธรรมชาติ
“ดีกว่า” ภูมิจากวัคซีน ที่สำคัญภูมิเสริมนี้ ไม่ได้มีแค่ แอนตี้บอดี้ ที่ชอบเอามาโม้
“ขายยา” กัน มันมีภูมิชนิดที่เรียกว่า ที เซลล์ อิมมูนิตี้ (T cell
immunity) ด้วย
ทีนี้มาต่อที่ข้อสอง
แม้ในเรื่องของ แอนตี้บอดี้นั้น มันก็ไม่ได้มีแค่ แอนตี้บอดี้ชนิดดี หรือ
ที่เรียกกันว่า neutralizing
antibody คือ แอนตี้บอดี้ที่ป้องกันการเข้าเซลล์ของเชื้อได้
แต่มันมีแอนตี้บอดี้ชนิด “ไม่ดี” ที่เขาเรียกว่า non neutralizing antibody
ด้วย เจ้าตัวหลังนี้นอกจากจะไม่ช่วยกันการติดเชื้อแล้ว มันยังช่วยให้เชื้อเข้าเซลล์ได้เร็วขึ้น
ทำให้อาการของโรครุนแรงขึ้น อย่างที่เรียกว่า ADE antibody dependent
enhancement ด้วย ปัญหาคือ
การฉีดวัคซีน แล้วได้ระดับแอนตึ้บอดี้สูงๆ นั้น
ไม่มีใครรับประกันได้ว่ามีแต่แอนตี้บอดี้ “ดี” ที่สูง เพราะถ้าวัคซีนไปกระตุ้น
แอนตี้บอดี้ชนิดไม่ดี ให้สูงขึ้นแล้ว นอกจากจะไม่ช่วยกันการติดเชื้อแล้ว
แอนตี้บอดี้แบบนี้ยังทำให้ อาการป่วยโควิด รุนแรงมากขึ้นด้วย
เอา
ใครคิดว่า จะลองเสี่ยงดวง กับวัคซีน ว่าจะออกหัวหรือก้อย ก็เชิญตามสบายครับ
แต่น่าจะเป็นหน้าที่ ความรับผิดชอบของหมอๆ คนฉีดวัคซีนที่ต้องบอก คนทั่วไปไหมว่า
การใช้วัคซีนนั้น มีผลดีและผลเสียอย่างไรบ้าง?
3. CONCLUSION
Given the strong evidence that ADE is a
non‐theoretical and compelling risk for COVID‐19 vaccines and the
“laundry list” nature of informed consents, disclosure of the specific risk
of worsened COVID‐19 disease from vaccination calls for a specific, separate,
informed consent form and demonstration of patient comprehension in order to meet medical
ethics standards. The informed consent process for ongoing COVID‐19 vaccine trials does
not appear to meet this standard. While the COVID‐19 global health emergency
justifies accelerated vaccine trials of candidates with known liabilities, such
an acceleration is not inconsistent with additional attention paid to
heightened informed consent procedures specific to COVID‐19 vaccine risks.
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC7645850/
เวทาสากุ กุสาทาเว ทายะสาตะ ตะสายะทา สาสาทิกุ กุทิสาสา กุตะกุภู ภูกุตะกุ
~~~~~~~☆●☆~~~~~~
📝 นพ.อรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น